Translate

The types of cargo

1 Break Bulk cargo

2 Bulk cargoes (dry & liquid)

3 Unitised cargo (palletised, preslung, containerised)

4 Refrigerated cargo

5 Dangerous Goods

6 Obnoxious cargo

7 Livestock

Break Bulk General Cargo Ship

Break Bulk General Cargo Ship

Break bulk cargo or General cargo

In shipping, break bulk cargo or general cargo is a term that covers a great variety of goods that must be loaded individually, and not in intermodal containers nor in bulk as with oil or grain. Ships that carry this sort of cargo are often called general cargo ships. The term break bulk derives from the phrase breaking bulk — the extraction of a portion of the cargo of a ship or the beginning of the unloading process from the ship's holds. These goods may be in shipping containers (bags, boxes, crates, drums, barrels). Unit loads of items secured to a pallet or skid are also used.[1]

A break-in-bulk point is a place where goods are transferred from one mode of transport to another, for example the docks where goods transfer from ship to truck.

Break bulk was the most common form of cargo for most of the history of shipping. Since the late 1960s the volume of break bulk cargo has declined dramatically worldwide as containerization has grown. Moving cargo on and off ship in containers is much more efficient, allowing ships to spend less time in port. Break bulk cargo also suffered from greater theft and damage.

Break Bulk Cargo Or General Cargo

หมาย ถึงสินค้าหลายชนิดหลายประเภท ซึ่งสินค้าเหล่านี้อาจถูกบรรจุอยู่ในรูปถุง, กล่อง, ลัง หรือถัง หรือแยกส่วนประกอบเป็นชิ้นๆ เช่น ส่วนของเครื่องจักรกล, ท่อ, อุปกรณ์สุขภัณฑ์ เป็นต้น ในปัจจุบันมักนิยมขนส่งด้วยการบรรจุรวมกันในตู้คอนเทนเนอร์

การดำเนินการจัดเก็บสินค้าหลายๆชิ้นซึ่งมีขนาด ไม่ใหญ่โตมากนักรวมกันไว้ในตู้คอนเทนเนอร์ก็เพื่อประโยชน์ในการป้องกันความ เสียหายอันเกิดระหว่างการขนถ่ายสินค้าขึ้น-ลงจากเรือ และการโจรกรรมในระหว่างการปฏิบัติการสินค้า

ดังนั้นเรือที่ใช้สำหรับการบรรทุกขนส่งสินค้า ประเภทนี้จึงได้แก่ เรือคอนเทนเนอร์ หรือ General multi purpose vessels ซึ่งมักจะติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือการทำสินค้าไว้บนเรือเช่น Derricks, Union purchses, Cranes เป็นต้น

Bulk Cargo Ship

Bulk Cargo Ship

Bulk cargo(สินค้าเทกอง)

Bulk cargo is commodity cargo that is transported unpackaged in large quantities. This cargo are usually dropped or poured, with a spout or shovel bucket, as a liquid or as a mass of relatively small solids (e.g. grain, coal), into a bulk carrier ship's hold, railroad car, or tanker truck/trailer/semi-trailer body. Bulk cargo is classified as liquid or dry.

As of 2009 the largest bulk carrier cargo ship in the world is the 364,768 metric tons deadweight (DWT) iron ore carrier Berge Stahl.

The busiest bulk cargo port in the world is the New Orleans-area based Port of South Louisiana.

Liquid bulk cargo ("wet" trades)

Petroleum

Liquefied natural gas (LNG)

Gasoline

Chemicals

Liquid edibles (vegetable oil, cooking oil, fruit juices, etc.)

Utilised Cargo

หมายถึงสินค้าตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไปที่ถูกนำมารวมกันด้วยกันผูกรัดและวางอยู่บนฐานรองชิ้นเดียวกัน วิธีการผูกรัดก็เช่น พันด้วยผ้าหรือเทปกาว, ติดกาว, ห่อหุ้ม, รัดด้วยสลิง ให้เป็นก้อนเดียวกัน ซึ่งทำห้สะดวกในการขนย้ายสินค้าเหล่านี้ได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น ทั้งยังมีผลที่ง่ายต่อการจัดเก็บสินค้าในระวางสินค้า

Dry bulk cargo ("dry" trades)

Advantage or Disadvantage on Utilised Cargoes

Advantage on Utilised Cargoes

1/ Ease of Tallying

2/ Reduced breakages

3/ Reduced pilferages

4/ Fast speed of working between shore & ship

5/ More effective use of vertical stowage

6/ Reduced labour requirements when handling between interfaces

Disadvantage on Utilised Cargoes

1/ Loss of space below decks with shape of the unit.

2/ Loss of space by shape of packages.

3/ Collapsed or crushed units requires labour intensive efforts to rectify, handle & store.

4/ An element of extra cost involved in the pallet;sling;shrink-wrap;strapping, etc.

Reefer Ship 194640

Reefer Ship 194640

Refrigerated Cargo with Reefer Ship

A reefer ship is a type of ship typically used to transport perishable commodities which require temperature-controlled transportation, mostly fruits, meat, fish, vegetables, dairy products and other foodstuffs.


Dangerous Cargoes

โดยทั่วไปในหลายๆประเทศได้มีการกำหนดให้จดทะเบียน (Legislation) ประเภทและชนิดของสินค้าอันตราย เพื่อวัตถุประสงค์การขนส่งสินค้าประเภทนี้ด้วยปลอดภัย

การกำหนดกระทำด้วยการแบ่ง Class ซึ่งกำหนดตามขั้นตอนการปฏิบัติเกี่ยวกับสินค้าแต่ละประเภท โดยการกำหนดกฎ, ข้อบังคับ หรือกฎหมายต่างๆเข้ามากำกับ หรือจัดแบ่งตามลักษณะเฉพาะตัวของสินค้า (charisteristics) รวมทั้งขนาดและขอบเขตของอันตรายอันอาจจะเกิดขึ้นจากตัวสินค้านั้นๆ

การจดทะเบียนจะระบุรายละเอียดครอบคลุม Classification, Packaging, stowage (permissible proximity & positioning) ในระหว่างการบรรทุกและการขนส่ง

การปฏิบัติการและการบรรทุกสินค้าชนิดนี้ต้องดำเนินการตามข้อบังคับต่างๆอย่างเคร่งครัด ซึ่งโดยทั่วไปจะพิจารณาถึง

1/ ประเภทของยานพาหนะหรือเรือที่นำมาใช้ในการขนส่ง

2/ กฎข้อบังคับของประเทศต้นทาง

3/ กฎข้อบังคับของประเทศที่ขนส่งผ่านระหว่างทาง

4/ กฎข้อบังคับของประเทศปลายทาง

5/ กฎข้อบังคับของประเทศที่เรือลำนั้นแขวนธงอยู่ (flag carrying)

Merchant Shipping (Dangerous Goods) Regulations 1981

ข้อบังคับต่างๆกำหนดขึ้นตามข้อกำหนดซึ่งระบุไว้โดยเฉพาะใน SOLAS บทที่ 7 ซึ่งจะเน้นเรื่องความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยของบุคคลที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานบนเรือ

สินค้าอันตราย หมายถึง สินค้าที่ถูกระบุและจัดประเภทที่แสดงไว้ใน Blue Book*, IMDG Code และรวมทั้งในเอกสารหรือวารสารที่ออกโดย IMO เช่น “Bulk Dangerous Chemicals Code”

Documentation of packaged

สินค้าอันตรายทุกประเภทจะไม่สามารถทำการขนถ่ายได้ถ้าผู้รับ/ผู้ส่ง หรือตัวแทน ไม่ทำการแจ้งโดยเปิดเผยถึงรายละเอียดของสินค้าอันตรายนั้นๆ ซึ่งรายละเอียดที่จะต้องระบุได้แก่

1/ Technical name or Shipping name (by IMDG code)

2/ Description of goods with dangerous charisteristics

3/ Identity of goods

4/ UN number

5/ Class of goods

Classification / IMDG Code

IMO ได้กำหนดรหัส(code)สำหรับสินค้าอันตรายทุกประเภทที่จะขนส่งโดยเรือ ซึ่งอ้างอิงจากรายงานของ UN Committee of Experts on the Transport of Dangerous Goods และ

แหล่งข้อมูลการลงทะเบียนสินค้าอันตรายขององค์กรอื่นๆ เช่น ADR, RID, IATA(road, rail, air).

IMDG code ได้รับการยอมรับในการนำมาอ้างอิงโดยแพร่หลายและถูกใช้ในการกำหนดกฎข้อบังคับในกฎหมายสำหรับบางประเทศ และใช้เป็นมาตรฐานในการติดต่อการค้าระหว่างบริษัทเรือและสมาคมการค้าระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง

IMDG code ได้กำหนดจัดแบ่งประเภทของสินค้าอันตรายไว้ 9 ประเภท (สินค้าหรือสารใดๆที่ไม่ได้ระบุไว้ใน IMDG Code นี้ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเป็นสินค้าที่ไม่อันตราย เรายังต้องคำนึงถึงสภาพคุณลักษณะที่แท้จริงของสินค้านั้นด้วย)

6/25/2010

STOWAGE

ให้แน่ใจว่าได้จัดเตรียมช่องว่างไว้เพียงพอต่อการจัดเก็บสินค้า และตระเตรียมไว้ในสภาพที่แห้งและสะอาด

สินค้าจะต้องได้รับการผูกรัดยึดตรึงอย่างแน่นหนา เพื่อป้องกันการเคลื่อนที่โดยเฉพาะความเสียหายอันเกิดจากการครูดหรือเสียดสีกัน

สินค้าที่บรรจุภายในถังควรจะจัดเก็บไว้อย่างมิดชิดและเป็นระเบียบ หลีกเลี่ยงการซ้อนทับกัน จัดเตรียมไม้ dunnage รองรับอย่างเพียงพอทั้งด้านล่างและอาจจะต้องมีไว้สำหรับด้านข้าง(สินค้าบางประเภท)

ในกรณีที่มีความจำเป็นจะต้องจัดเก็บสินค้าทั่วไปไว้ในบริเวณเดียวกันกับสินค้าอันตราย ควรจะจัดเก็บสินค้าอันตรายไว้ใกล้ทางออกซึ่งสามารถตรวจสอบได้ง่ายกว่า เช่น บริเวณประตูของตู้ container

Deck stowage:> จะต้องได้รับการผูกยึดอย่างเพียงพอ การจัดทำหลังคาหรือเครื่องป้องกันผลกระทบจากสภาพอากาศชั่วคราวอาจมีความจำเป็น และจัดให้มีช่องทางเดินที่กว้างพอและปลอดภัย

สินค้าปากระวางที่ติดไฟง่าย จะต้องนำมาตรการห้ามสูบบุหรี่หรือการทำให้เกิดประกายไฟในบริเวณใกล้เคียงมาใช้บังคับ และหากจำเป็นจะต้องจัดให้มีระบบระบายอากาศสำหรับสินค้าที่มีไอระเหย หรือกลิ่น

บนเรือโดยสาร ห้ามจัดเก็บสินค้าอันตรายไว้ใกล้กับส่วนของดาดฟ้าเปิดหรือส่วนที่พักอาศัยของผู้โดยสาร และห้ามจัดเก็บวัตถุระเบิดไว้บนเรือโดยสารซึ่งมีผู้โดยสารมากกว่า 12 คนขึ้นไปยกเว้นข้อจำกัดดังต่อไปนี้จะต้องนำมาพิจารณา

1> safety explosive

2> any explosived the net weight of which is 10 kg or under

3> distress signal upto a total weight of 1,000 kg

4> fireworks are carried on ships transporting unberthed passengers

ไม่อนุญาตให้บรรทุกสินค้าอันตรายไว้บนเรือโดยสารที่มีผู้โดยสารมากกว่า 25 คน

และสำหรับสินค้าที่สามารถเกิดการเผาไหม้ จะต้องระมัดระวังการเกิดประกายไฟอันเกิดจากสายไฟ ขั้วต่อ ปลั๊กเสียบ หรือสายไฟเก่าด้วย

Segregation:> (การแยกจัดเก็บ) ขึ้นอยู่กับคุณลักษณะของสินค้าที่กำหนดไว้โดยการจัดประเภทของสินค้าของ IMO (IMDG Code) ต้องใช้ความระมัดระวังในการพิจารณาอย่างรอบคอบ

เครื่องบริโภคห้ามจัดเก็บไว้ในบริเวณเดียวกันกับสินค้าอันตราย

Miscellaneous Safety Precautions:>

เป็นการผิดกฎหมายและอันตรายอย่างมากในการข้ามขั้นตอนการปฏิบัติการสินค้าที่ควรจะต้องกระทำตามแผนที่กำหนด

การก่อให้เกิดประกายไฟและการสูบบุหรี่เป็นข้อห้ามในบริเวณที่จัดเก็บสินค้าอันตราย

ถ้าเป็นไปได้ควรขนถ่ายและจัดเก็บสินค้าอันตรายในระหว่างเวลากลางวัน ถ้าจำเป็นต้องติดตั้งแสงไฟส่องสว่างให้เพียงพอ แต่ต้องระวังการเปลี่ยนสีของเครื่องหมายของสินค้าเนื่องมากจากแสงไฟด้วย

ระมัดระวังและตรวจสอบเรื่องอุณหภูมิที่ติดไฟได้ของสินค้า เพื่อควบคุมอุณหภูมิอย่างเคร่งครัด

เมื่อสินค้าเกิดการหกจะต้องไม่ดำเนินการเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์โดยที่ไม่ได้รับการอนุญาตจากผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์เดิมโดยเด็ดขาด

IMO publications – Emergency Procedures for Ships Carrying Dangerous Goods จะต้องมีไว้บนเรือเสมอเพื่อใช้ในการพิจารณาข้อจำกัดต่างๆ


Handling Precautions

Handling Precautions
ข้อควรระวังในการขนถ่ายและจัดเก็บสินค้าอันตราย ควรจะต้องมีการกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติการซึ่งขึ้นกับลักษณะการดูแลสินค้าแต่ละประเภท เช่น ความเสี่ยงในการเกิดอันตราย และขั้นตอนที่เหมาะสมตอบสนองทันท่วงที และกระชับ
แต่การกระทำที่รวดเร็วและหยาบเกินไปอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย การขนถ่ายทุกครั้งจะต้องทำการบันทึกเวลาที่ดำเนินการ
บรรจุภัณฑ์จะต้องได้รับการตรวจสอบความเสียหาย, รอยรั่วซึม รวมทั้งสภาพที่ไม่น่าพอใจทุกอย่างซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ ก่อนจะทำการจัดเก็บบนเรือทุกครั้ง
บรรจุภัณฑ์จะต้องไม่ถูกโยน หรือปล่อยจากที่สูง หรือใช้ตะขอเกี่ยว หรือไม้รองง่ายๆ แต่ควรจะใช้รถ Fork lift
บรรจุภัณฑ์ที่เปียกหรือถูกฝนแล้วเกิดน้ำแข็งหรือมีหิมะปกคลุมอยู่ จะต้องทำให้แห้งก่อนจัดเก็บขึ้นเรือ โดยเฉพาะสินค้า Class 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 6, 8 หรือ 9
บรรจุภัณฑ์ที่ติดตั้งระบบระบายอากาศจะต้องถูกยกในลักษณะตั้งตรง และจัดเก็บในบริเวณที่แยกต่างหาก
หากเกิดความเสียหายใดๆในระหว่าง loading จะต้องทำการยกเลิกและส่งคืน แต่ถ้าในกรณีจัดเก็บใน container และพบว่ามีความเสียหายของตู้ จะต้องทำการบันทึกรายละเอียดนั้น โดยเฉพาะสภาพอันน่าจะเกิดอันตราย หรือกลิ่นที่ทำให้การเกิดระคายเคืองต่อลำคอหรือตา ซึ่งเป็นการบ่งบอกว่าน่าจะมีการรั่วไหลของสินค้าภายในเกิดขึ้น

Declaration (others requires)

Declaration (others requires)
ข้อมูลนอกจากการกำหนดและจัดประเภทของสินค้าอันตรายด้วย IMDG Code แล้ว ผู้รับ/ผู้ส่ง/ตัวแทน จะต้องแสดงรายละเอียดดังต่อไปนี้ให้เพียงพอ
1> จำนวนและลักษณะของบรรจุภัณฑ์
2> น้ำหนักรวมของสินค้าที่จัดส่ง (รวมบรรจุภัณฑ์)
3> น้ำหนักสุทธิของสินค้าของวัตถุระเบิดตาม Class 1
4> จุดติดไฟ (61o หรือต่ำกว่า)

Labelling & Packaging
สินค้าอันตรายทุกชิ้นจะต้องติดฉลาก(labelled or marked) แสดงรายละเอียดที่ต้องการดังต่อไปนี้
1> technical name อย่างถูกต้องตรงตามกฎข้อบังคับ และลักษณะของอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นและผลกระทบต่อเนื่อง หากพบข้อมูลที่ขัดแย้งกันจะต้องได้รับการตรวจสอบและแก้ไขทันที
2> เครื่องหมายหรือฉลากจะต้องเป็นไปตามแบบที่กำหนดไว้ใน Blue book or IMDG Code เท่านั้น
3> กรณีมีส่วนอุปกรณ์ของสินค้าอยู่ภายนอกบรรจุภัณฑ์ซึ่งอาจเก็บไว้นานเกิน 3 เดือน เครื่องหมายหรือสลากจะต้องมีความทนทานสูง
4> ถ้าสินค้าจะต้องถูกจัดเก็บไว้เกิน 3 เดือนก็ต้องแสดงเครื่องหมายหรือสลากเช่นเดียวกันกับข้อ 3
5> ถ้าสินค้าถูกบรรจุไว้ใน container จะต้องติดเครื่องหมายหรือสลากไว้ที่บริเวณด้านนอกตรงส่วนปลายสุดทั้งสองข้าง กรณียานพาหนะต้องติดไว้ที่ด้านข้างทั้งสองด้านและอีกที่หนึ่งบริเวณท้ายยานพาหนะนั้น

Packaging (บรรจุภัณฑ์) จะต้องผ่านการทดสอบความแข็งแรง ความทนทานให้ได้ตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ใน IMO Annex I ซึ่งขึ้นอยู่กับการออกแบบของบรรจุภัณฑ์แต่ละประเภท
บรรจุภัณฑ์ทุกประเภทจะต้องมีฝาปิด, ถูกปิดมิดชิด, อุดรูระบายต่างๆ อย่างแน่นหนา ในกรณีมีการรั่วไหลเช่น ได้กลิ่นออกมาจากสินค้า บรรจุภัณฑ์นั้นจะต้องได้รับการตรวจสอบทันที หากไม่เห็นด้วยสายตาจะต้องสอบสวนกลับไปยังต้นทาง
สำหรับประเภทถังบรรจุต้องตรวจดูรอยสนิม ร่องรอยการกัดกร่อน รอยบุบ รอยเชื่อม หากพบบรรจุภัณฑ์ลักษณะนี้ควรจะต้องจัดเก็บไว้ในลำดับหลังสุด
ถังไม้, ลังไม้อัด หรือลังไม้ชนิดอื่นๆ ถ้าพบรอยฉีกขาดควรจะต้องจัดหาถุงหรือวัสดุที่เหมาะสมมาครอบไว้อีกชั้นหนึ่ง
ถังบรรจุก๊าซจะต้องมีฝาครอบหัวถังเพื่อป้องกันวาล์วปิด/เปิด


6/23/2010

Class 9 : Miscellaneous


Class 9 : Miscellaneous dangerous substances which present
Danger by other classes
“สินค้าอันตรายซึ่งไม่ได้จัดอยู่ในประเภทใดประเภทหนึ่งซึ่งได้กล่าวมาแล้ว” ไม่สามารถระบุได้อย่างชัดเจน แต่ห้ามตั้งสมมติฐานว่าไม่มีอันตรายหรือมีอันตรายน้อยเด็ดขาด


The miscellaneous hazardous material is a material that presents a hazard during transportation but which does not meet the definition of any other hazard class. This class includes:

1. Any material which has an anesthetic, noxious or other similar property which could cause extreme annoyance or discomfort to a flight crew member so as to prevent the correct performance of assigned duties; or
2. Any material that meets the definition in 49 CFR 171.8 for an elevated temperature material, a hazardous substance, a hazardous waste, or a marine pollutant.
References

* 49 CFR 173.140
* 49 CFR 173.141

Class 8 : Corrosives


Class 8 : Corrosives
“สารที่ก่อให้เกิดการกัดกร่อน” มีสภาพเป็นทั้งของแข็งหรือของเหลว การรั่วไหลหรือรั่วซึมของสินค้าประเภทนี้อาจก่อให้เกิดความเสียหายกับสินค้าอื่นหรืออุปกรณ์ต่างๆในบริเวณใกล้เคียง และทำให้เกิดการระคายเคืองกับตาและจมูก นอกจากนี้บางประเภทมีผลในการทำลายผิวหนังหรือเยื่อบุโพรงจมูก หรือเป็นพิษเมื่อถูกกลืนเข้าไป หรือไอพิษเมื่อสูดดม

Class 8 : Corrosives
Common corrosive chemicals are classified into:

* Acids

* Strong acids — the most common are sulfuric acid, nitric acid and hydrochloric acid (H2SO4, HNO3 and HCl, respectively).
* Some concentrated weak acids, for example formic acid and acetic acid
* Solutions of Lewis acids with specific reactivity, e.g. solutions of zinc chloride

* Bases

* Caustics or alkalis, such as sodium hydroxide (NaOH) and potassium hydroxide (KOH)
* Alkali metals in the metallic form (e.g. elemental sodium), and hydrides of alkali and alkaline earth metals, such as sodium hydride, function as strong bases and hydrate to give caustics
* Some concentrated weak bases, such as ammonia when anhydrous or in a concentrated solution

* Dehydrating agents such as phosphorus pentoxide, calcium oxide, anhydrous zinc chloride, also elemental alkali metals
* Strong oxidizers such as concentrated hydrogen peroxide
* Electrophilic halogens: elemental fluorine, chlorine, bromine and iodine, and electrophilic salts such as sodium hypochlorite or N-chloro compounds such as chloramine-T[1]; halide ions are not corrosive
* Organic halides and organic acid halides such as acetyl chloride and benzyl chloroformate
* Acid anhydrides
* Alkylating agents such as dimethyl sulfate
* Some organic materials such as phenol ("carbolic acid")


Example : hydrochloric acid, sodium hypochlorite (liquid pool chlorine) , sodium hydroxide (caustic soda)

References

1. ^ International Chemical Safety Card for Chloramine-T

Class 7 : Radioactive substances



Class 7 : Radioactive substances
“สารกัมมันตภาพรังสี” การจัดเก็บและการขนถ่ายต้องใช้ความระมัดระวังและปฏิบัติตามกฎข้อบังคับตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด นอกจากนี้เอกสารประกอบแสดงคุณลักษณะและคุณสมบัติของสินค้าต้องชัดเจน และเพียงพอตามกฎข้อบังคับซึ่งเป็นส่วนที่สำคัญที่สุด บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการขนถ่ายจะต้องได้รับคำแนะนำที่ถูกต้องและเพียงพอก่อนเริ่มปฏิบัติงาน

Any quantity of packages bearing the RADIOACTIVE YELLOW III label (LSA-III).
Some radioactive materials in "exclusive use" with low specific activity radioactive materials will not bear the label, however, the RADIOACTIVE placard is required.
References

* 49CFR 173 Subpart I

Class 6 Toxic and Infectious Substances


Class 6.1 : Poisonous (toxic) substances
“สารพิษ” สามารถทำให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิต หรือบาดเจ็บทางร่างกายอย่างรุนแรงเมื่อกลืน, สูดหายใจเข้าไป หรือสัมผัสกับผิวหนัง
การจัดเก็บต้องใช้ความระมัดระวังอย่างสูง อุปกรณ์ BA และ Protective clothing ต้องถูกจัดเตรียมไว้ในขณะทำการขนถ่ายเพื่อป้องกันกรณีที่บรรจุภัณฑ์เกิดความเสียหายขึ้น

Division 6.1: Poisonous material is a material, other than a gas, which is known to be so toxic to humans as to afford a hazard to health during transportation, or which, in the absence of adequate data on human toxicity:

* Is presumed to be toxic to humans because it falls within any one of the following categories when tested on laboratory animals (whenever possible, animal test data that has been reported in the chemical literature should be used):

1. Oral Toxicity: A liquid with an LD50 for acute oral toxicity of not more than 500 mg/kg or a solid with an LD50 for acute oral toxicity of not more than 200 mg/kg.
2. Dermal Toxicity. A material with an LD50 for acute dermal toxicity of not more than 1000 mg/kg.
3. Inhalation Toxicity: A dust or mist with an LC50 for acute toxicity on inhalation of not more than 10 mg/L; or a material with a saturated vapor concentration in air at 20 °C (68 °F) of more than one-fifth of the LC50 for acute toxicity on inhalation of vapors and with an LC50 for acute toxicity on inhalation of vapors of not more than 5000 ml/m³; or

* Is an irritating material, with properties similar to tear gas, which causes extreme irritation, especially in confined spaces.
Example : cyanides, lead, arsenic



Class 6.2 : Infectious substances
“สารที่ทำให้เกิดการติดเชื้อหรือการระบาดได้” มีอันตรายเช่นเดียวกันกับประเภท 6.1
การจัดเก็บใช้วิธีการเดียวกันกับประเภท 6.1

Division 6.2: Biohazards.
* Poison: 454 kg (1001 lb) or more gross weight of poisonous materials that are not in Hazard Zone A or B (see Assignment of packing groups and hazard zones below).
* Inhalation Hazard: Any quantity of a material that is in Hazard Zone A or B (see Assignment of packing groups and hazard zones below).
* Toxic: May be used instead of POISON placard on 454 kg (1001 lb) or more gross weight of poisonous materials that are not in Hazard Zone A or B (see Assignment of packing groups and hazard zones below).
* PG III (Packing Group III): May be used instead of POISON placard on 454 kg (1001 lb) or more gross weight of Poison PG III materials (see Assignment of packing groups and hazard zones below).
Example : pesticides, heavy metals
References : 49 CFR 173.132

CLASS 5 Oxidising Substances


Class 5.1 : Oxidizing substances
These are all oxidising agents other than organic peroxides. When substances burn in air, they combine with oxygen and so are said to have been oxidised. Other chemicals have a similar 'burning' effect and so are said to be oxidising agents. The largest group of these are the organic peroxides.

Class 5.1 : Oxidizing substances (agents)
โดยปกติจะไม่เกิดการเผาไหม้ด้วยตัวเอง แต่เมื่อติดไฟสินค้าจะก่อให้เกิดออกซิเจนทำให้เพลิงไหม้มีความรุนแรงขึ้น บางชนิดง่ายต่อการติดไฟอันเนื่องมาจากการเสียดสีหรือถูกกดด้วยแรงดัน หรือแรงระเบิด และเมื่อเก็บไว้ใกล้ของเหลวที่เป็นกรดมากๆอาจก่อให้เกิดหายนะได้
การจัดเก็บจะต้องระมัดระวังหลีกเลี่ยงและปฏิเสธการรับขนส่งบรรจุภัณฑ์ที่มีรอยรั่ว ก่อนทำการ load จะต้องทำความสะอาดและเคลื่อนย้ายวัสดุที่อาจจะเกิดการเผาไหม้ได้ออกไปจากบริเวณที่จัดเก็บ

Class 5.2 : Organic Peroxides (liquid or solid)
These are a particular class of oxidising agent. hey have all the normal hazards of oxidising agents (that is, they will cause a 'chemical urning'). In addition, they will often be explosive under certain conditions - especially, if they are allowed to dry out.

Class 5.2 : Organic peroxides
“สารอินทรีย์ซึ่งก่อให้เกิดออกไซด์” พร้อมจะติดไฟหรือติดไฟจากแรงระเบิด
การจัดเก็บจะต้องแยกออกให้ห่างจากความร้อน โดยปกติมักจัดเก็บภายในบรรจุภัณฑ์ซึ่งสามารถระบายอากาศได้ และต้องจัดเก็บในลักษณะตั้งตรงโดยป้องกันไม่ให้เกิดการเอียง นอกจากนี้ยังเป็นสินค้าที่ต้องการการควบคุมอุณหภูมิบริเวณการจัดเก็บ จึงต้องแสดงรายละเอียดดังกล่าวในใบตราส่งสินค้าให้ละเอียด

Class 4 : Flammable Solids



Class 4.1 : Flammable Solids
“ของแข็งซึ่งพร้อมจะติดไฟ” บางชนิดต้องการการจัดเก็บในสภาวะมีของเหลวหรือน้ำหล่อไว้ และหากมีการสูญเสียน้ำหล่อเย็นไปอาจจะทำให้เกิดการระเบิดได้
การจัดเก็บต้องให้ห่างจากแหล่งกำเนิดประกายไฟ

Class 4.1 : Flammable Solids
Solids easily ignited and readily combustible. These are ordinarily flammable solids which don't fit into Class 4.2 or 4.3.
Example : phosphorus, picric acid


Class 4.2 : Substances liable to spontaneous combustion
“สารซึ่งเกิดการเผาไหม้ด้วยตัวเอง” ซึ่งมักจะเกิดขึ้นเมื่ออุณหภูมิเกิดการเปลี่ยนแปลงสูงขึ้น บางครั้งเมื่อถูกน้ำหรือน้ำมันจะเกิดกระบวนการเผาไหม้ภายใน และซึ่งบางครั้งอาจจะเกิดติดไฟภายหลังเป็นวันหรือสัปดาห์
การจัดเก็บต้องระมัดระวังเรื่องของอุณหภูมิภายในบริเวณที่จัดเก็บ และห้ามถูกน้ำหรือน้ำมัน

Class 4.2 : Substances liable to spontaneous combustion
These materials will catch fire if exposed to air without any heat being applied (that is, the heat from the normal air is sufficient for them to catch fire - no other source of heat is required).
Example : charcoal (non-activated)

Class 4.3 : Subtances which in contact with water emit flammable gases
“สารซึ่งก่อให้เกิดก๊าซติดไฟเมื่อถูกน้ำ” ก๊าซที่เกิดขึ้นอาจจะติดไฟเมื่อเกิดการปลดปล่อยความร้อนของสินค้า
สินค้าประเภทนี้จะต้องถูกแยกจัดเก็บในที่แห้งเท่านั้น ไม่ให้ปะปนกับสินค้าประเภทอื่นซึ่งอาจทำปฏิกิริยากันได้ และการดับเพลิงไหม้จะต้องระมัดระวังการใช้สารดับเพลิงซึ่งเป็นของเหลวด้วย ซึ่งอาจทำให้สถานการณ์เลวร้ายลงได้


Class 4.3 : Subtances which in contact with water emit flammable gases
This class is also known as 'Emits flammable gases when wet'. This class has a particular hazard: not only can moisture from the air cause a fire, but if water or foam is used to extinguish them, it will make the situation worse.
Example : calcium carbide


Class 3 : Flammable liquids



Class 3 : Flammable liquids
subdivided :>
3.1 Low Flashpoint
3.2 Intermediate Flashpoint
3.3 High Flashpoint
“ของเหลวติดไฟได้” อันตรายที่จะเกิดขึ้นมักเกิดจากไอระเหย ณ ผิวหน้าของของเหลว ซึ่งมักจะมีสภาพเป็นพิษ โดยเฉพาะประเภท 3.1 ซึ่งตามธรรมชาติจะระเหยปะปนกับอากาศง่ายและนำไปสู่การระเบิดหรือติดไฟเมื่อเกิดประกายไฟ
การจัดเก็บจะต้องให้ห่างจากประกายไฟและความร้อน และบริเวณหรือภาชนะจัดเก็บจะต้องสามารถป้องกันการเกิดประกายไฟจากภายนอกด้วย

Example : Petrol, Kerosene

ข้อควรระวัง: ของเหลวบางประเภทสามารถละลายน้ำได้ จึงต้องพิจารณาการใช้น้ำในการดับเพลิงอันเกิดจากสินค้าประเภทนี้อย่างระมัดระวัง

Class 1 : Explosives



Class 1 : Explosives
“วัตถุระเบิด” ครอบคลุมถึงอาวุธร้ายแรงนานาชนิด ซึ่งมีความเสี่ยงต่อการระเบิด สินค้าชนิดนี้จะถูกบังคับอย่างเข้มงวดกวดขันให้ต้องจดทะเบียนตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด
Class 2 : Gases compressed, Liquefied or dissolved under pressure
subdivided :>
2.1 Flammable gases
2.2 Non-flammable gases, being compressed, liquefied or dissolved under
pressure but neither flammable nor poisonous
2.3 Poisonous gases
“ก๊าซ” ซึ่งสามารถทำให้เกิดการระเบิด, การติดไฟ, เกิดสภาพเป็นพิษ, ทำให้เกิดสนิม หรือ
Oxidising substances หรือทำให้เกิดผลลัพธ์ดังกล่าวข้างต้น 2 อาการขึ้นไปประกอบกัน
ก๊าซบางประเภทเป็นสารเคมีและมีสภาพเป็นก๊าซเฉื่อย บางประเภทไม่มีพิษแต่อาจทำให้หายใจติดขัดเมื่อมีความเข้มข้นสูง
ถังที่ใช้บรรจุสินค้าจะต้องมีความแข็งแรงสูง เพื่อป้องกันการระเบิดจากความดันที่เพิ่มขึ้น