Translate

The types of cargo

1 Break Bulk cargo

2 Bulk cargoes (dry & liquid)

3 Unitised cargo (palletised, preslung, containerised)

4 Refrigerated cargo

5 Dangerous Goods

6 Obnoxious cargo

7 Livestock

Break Bulk General Cargo Ship

Break Bulk General Cargo Ship

Break bulk cargo or General cargo

In shipping, break bulk cargo or general cargo is a term that covers a great variety of goods that must be loaded individually, and not in intermodal containers nor in bulk as with oil or grain. Ships that carry this sort of cargo are often called general cargo ships. The term break bulk derives from the phrase breaking bulk — the extraction of a portion of the cargo of a ship or the beginning of the unloading process from the ship's holds. These goods may be in shipping containers (bags, boxes, crates, drums, barrels). Unit loads of items secured to a pallet or skid are also used.[1]

A break-in-bulk point is a place where goods are transferred from one mode of transport to another, for example the docks where goods transfer from ship to truck.

Break bulk was the most common form of cargo for most of the history of shipping. Since the late 1960s the volume of break bulk cargo has declined dramatically worldwide as containerization has grown. Moving cargo on and off ship in containers is much more efficient, allowing ships to spend less time in port. Break bulk cargo also suffered from greater theft and damage.

Break Bulk Cargo Or General Cargo

หมาย ถึงสินค้าหลายชนิดหลายประเภท ซึ่งสินค้าเหล่านี้อาจถูกบรรจุอยู่ในรูปถุง, กล่อง, ลัง หรือถัง หรือแยกส่วนประกอบเป็นชิ้นๆ เช่น ส่วนของเครื่องจักรกล, ท่อ, อุปกรณ์สุขภัณฑ์ เป็นต้น ในปัจจุบันมักนิยมขนส่งด้วยการบรรจุรวมกันในตู้คอนเทนเนอร์

การดำเนินการจัดเก็บสินค้าหลายๆชิ้นซึ่งมีขนาด ไม่ใหญ่โตมากนักรวมกันไว้ในตู้คอนเทนเนอร์ก็เพื่อประโยชน์ในการป้องกันความ เสียหายอันเกิดระหว่างการขนถ่ายสินค้าขึ้น-ลงจากเรือ และการโจรกรรมในระหว่างการปฏิบัติการสินค้า

ดังนั้นเรือที่ใช้สำหรับการบรรทุกขนส่งสินค้า ประเภทนี้จึงได้แก่ เรือคอนเทนเนอร์ หรือ General multi purpose vessels ซึ่งมักจะติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือการทำสินค้าไว้บนเรือเช่น Derricks, Union purchses, Cranes เป็นต้น

Bulk Cargo Ship

Bulk Cargo Ship

Bulk cargo(สินค้าเทกอง)

Bulk cargo is commodity cargo that is transported unpackaged in large quantities. This cargo are usually dropped or poured, with a spout or shovel bucket, as a liquid or as a mass of relatively small solids (e.g. grain, coal), into a bulk carrier ship's hold, railroad car, or tanker truck/trailer/semi-trailer body. Bulk cargo is classified as liquid or dry.

As of 2009 the largest bulk carrier cargo ship in the world is the 364,768 metric tons deadweight (DWT) iron ore carrier Berge Stahl.

The busiest bulk cargo port in the world is the New Orleans-area based Port of South Louisiana.

Liquid bulk cargo ("wet" trades)

Petroleum

Liquefied natural gas (LNG)

Gasoline

Chemicals

Liquid edibles (vegetable oil, cooking oil, fruit juices, etc.)

Utilised Cargo

หมายถึงสินค้าตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไปที่ถูกนำมารวมกันด้วยกันผูกรัดและวางอยู่บนฐานรองชิ้นเดียวกัน วิธีการผูกรัดก็เช่น พันด้วยผ้าหรือเทปกาว, ติดกาว, ห่อหุ้ม, รัดด้วยสลิง ให้เป็นก้อนเดียวกัน ซึ่งทำห้สะดวกในการขนย้ายสินค้าเหล่านี้ได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น ทั้งยังมีผลที่ง่ายต่อการจัดเก็บสินค้าในระวางสินค้า

Dry bulk cargo ("dry" trades)

Advantage or Disadvantage on Utilised Cargoes

Advantage on Utilised Cargoes

1/ Ease of Tallying

2/ Reduced breakages

3/ Reduced pilferages

4/ Fast speed of working between shore & ship

5/ More effective use of vertical stowage

6/ Reduced labour requirements when handling between interfaces

Disadvantage on Utilised Cargoes

1/ Loss of space below decks with shape of the unit.

2/ Loss of space by shape of packages.

3/ Collapsed or crushed units requires labour intensive efforts to rectify, handle & store.

4/ An element of extra cost involved in the pallet;sling;shrink-wrap;strapping, etc.

Reefer Ship 194640

Reefer Ship 194640

Refrigerated Cargo with Reefer Ship

A reefer ship is a type of ship typically used to transport perishable commodities which require temperature-controlled transportation, mostly fruits, meat, fish, vegetables, dairy products and other foodstuffs.


Dangerous Cargoes

โดยทั่วไปในหลายๆประเทศได้มีการกำหนดให้จดทะเบียน (Legislation) ประเภทและชนิดของสินค้าอันตราย เพื่อวัตถุประสงค์การขนส่งสินค้าประเภทนี้ด้วยปลอดภัย

การกำหนดกระทำด้วยการแบ่ง Class ซึ่งกำหนดตามขั้นตอนการปฏิบัติเกี่ยวกับสินค้าแต่ละประเภท โดยการกำหนดกฎ, ข้อบังคับ หรือกฎหมายต่างๆเข้ามากำกับ หรือจัดแบ่งตามลักษณะเฉพาะตัวของสินค้า (charisteristics) รวมทั้งขนาดและขอบเขตของอันตรายอันอาจจะเกิดขึ้นจากตัวสินค้านั้นๆ

การจดทะเบียนจะระบุรายละเอียดครอบคลุม Classification, Packaging, stowage (permissible proximity & positioning) ในระหว่างการบรรทุกและการขนส่ง

การปฏิบัติการและการบรรทุกสินค้าชนิดนี้ต้องดำเนินการตามข้อบังคับต่างๆอย่างเคร่งครัด ซึ่งโดยทั่วไปจะพิจารณาถึง

1/ ประเภทของยานพาหนะหรือเรือที่นำมาใช้ในการขนส่ง

2/ กฎข้อบังคับของประเทศต้นทาง

3/ กฎข้อบังคับของประเทศที่ขนส่งผ่านระหว่างทาง

4/ กฎข้อบังคับของประเทศปลายทาง

5/ กฎข้อบังคับของประเทศที่เรือลำนั้นแขวนธงอยู่ (flag carrying)

Merchant Shipping (Dangerous Goods) Regulations 1981

ข้อบังคับต่างๆกำหนดขึ้นตามข้อกำหนดซึ่งระบุไว้โดยเฉพาะใน SOLAS บทที่ 7 ซึ่งจะเน้นเรื่องความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยของบุคคลที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานบนเรือ

สินค้าอันตราย หมายถึง สินค้าที่ถูกระบุและจัดประเภทที่แสดงไว้ใน Blue Book*, IMDG Code และรวมทั้งในเอกสารหรือวารสารที่ออกโดย IMO เช่น “Bulk Dangerous Chemicals Code”

Documentation of packaged

สินค้าอันตรายทุกประเภทจะไม่สามารถทำการขนถ่ายได้ถ้าผู้รับ/ผู้ส่ง หรือตัวแทน ไม่ทำการแจ้งโดยเปิดเผยถึงรายละเอียดของสินค้าอันตรายนั้นๆ ซึ่งรายละเอียดที่จะต้องระบุได้แก่

1/ Technical name or Shipping name (by IMDG code)

2/ Description of goods with dangerous charisteristics

3/ Identity of goods

4/ UN number

5/ Class of goods

Classification / IMDG Code

IMO ได้กำหนดรหัส(code)สำหรับสินค้าอันตรายทุกประเภทที่จะขนส่งโดยเรือ ซึ่งอ้างอิงจากรายงานของ UN Committee of Experts on the Transport of Dangerous Goods และ

แหล่งข้อมูลการลงทะเบียนสินค้าอันตรายขององค์กรอื่นๆ เช่น ADR, RID, IATA(road, rail, air).

IMDG code ได้รับการยอมรับในการนำมาอ้างอิงโดยแพร่หลายและถูกใช้ในการกำหนดกฎข้อบังคับในกฎหมายสำหรับบางประเทศ และใช้เป็นมาตรฐานในการติดต่อการค้าระหว่างบริษัทเรือและสมาคมการค้าระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง

IMDG code ได้กำหนดจัดแบ่งประเภทของสินค้าอันตรายไว้ 9 ประเภท (สินค้าหรือสารใดๆที่ไม่ได้ระบุไว้ใน IMDG Code นี้ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเป็นสินค้าที่ไม่อันตราย เรายังต้องคำนึงถึงสภาพคุณลักษณะที่แท้จริงของสินค้านั้นด้วย)

6/23/2010

CLASS 5 Oxidising Substances


Class 5.1 : Oxidizing substances
These are all oxidising agents other than organic peroxides. When substances burn in air, they combine with oxygen and so are said to have been oxidised. Other chemicals have a similar 'burning' effect and so are said to be oxidising agents. The largest group of these are the organic peroxides.

Class 5.1 : Oxidizing substances (agents)
โดยปกติจะไม่เกิดการเผาไหม้ด้วยตัวเอง แต่เมื่อติดไฟสินค้าจะก่อให้เกิดออกซิเจนทำให้เพลิงไหม้มีความรุนแรงขึ้น บางชนิดง่ายต่อการติดไฟอันเนื่องมาจากการเสียดสีหรือถูกกดด้วยแรงดัน หรือแรงระเบิด และเมื่อเก็บไว้ใกล้ของเหลวที่เป็นกรดมากๆอาจก่อให้เกิดหายนะได้
การจัดเก็บจะต้องระมัดระวังหลีกเลี่ยงและปฏิเสธการรับขนส่งบรรจุภัณฑ์ที่มีรอยรั่ว ก่อนทำการ load จะต้องทำความสะอาดและเคลื่อนย้ายวัสดุที่อาจจะเกิดการเผาไหม้ได้ออกไปจากบริเวณที่จัดเก็บ

Class 5.2 : Organic Peroxides (liquid or solid)
These are a particular class of oxidising agent. hey have all the normal hazards of oxidising agents (that is, they will cause a 'chemical urning'). In addition, they will often be explosive under certain conditions - especially, if they are allowed to dry out.

Class 5.2 : Organic peroxides
“สารอินทรีย์ซึ่งก่อให้เกิดออกไซด์” พร้อมจะติดไฟหรือติดไฟจากแรงระเบิด
การจัดเก็บจะต้องแยกออกให้ห่างจากความร้อน โดยปกติมักจัดเก็บภายในบรรจุภัณฑ์ซึ่งสามารถระบายอากาศได้ และต้องจัดเก็บในลักษณะตั้งตรงโดยป้องกันไม่ให้เกิดการเอียง นอกจากนี้ยังเป็นสินค้าที่ต้องการการควบคุมอุณหภูมิบริเวณการจัดเก็บ จึงต้องแสดงรายละเอียดดังกล่าวในใบตราส่งสินค้าให้ละเอียด