The types of cargo
2 Bulk cargoes (dry & liquid)
3 Unitised cargo (palletised, preslung, containerised)
4 Refrigerated cargo
5 Dangerous Goods
6 Obnoxious cargo
7 Livestock
Break Bulk General Cargo Ship
Break bulk cargo or General cargo
A break-in-bulk point is a place where goods are transferred from one mode of transport to another, for example the docks where goods transfer from ship to truck.
Break bulk was the most common form of cargo for most of the history of shipping. Since the late 1960s the volume of break bulk cargo has declined dramatically worldwide as containerization has grown. Moving cargo on and off ship in containers is much more efficient, allowing ships to spend less time in port. Break bulk cargo also suffered from greater theft and damage.
Break Bulk Cargo Or General Cargo
หมาย ถึงสินค้าหลายชนิดหลายประเภท ซึ่งสินค้าเหล่านี้อาจถูกบรรจุอยู่ในรูปถุง, กล่อง, ลัง หรือถัง หรือแยกส่วนประกอบเป็นชิ้นๆ เช่น ส่วนของเครื่องจักรกล, ท่อ, อุปกรณ์สุขภัณฑ์ เป็นต้น ในปัจจุบันมักนิยมขนส่งด้วยการบรรจุรวมกันในตู้คอนเทนเนอร์
การดำเนินการจัดเก็บสินค้าหลายๆชิ้นซึ่งมีขนาด ไม่ใหญ่โตมากนักรวมกันไว้ในตู้คอนเทนเนอร์ก็เพื่อประโยชน์ในการป้องกันความ เสียหายอันเกิดระหว่างการขนถ่ายสินค้าขึ้น-ลงจากเรือ และการโจรกรรมในระหว่างการปฏิบัติการสินค้า
ดังนั้นเรือที่ใช้สำหรับการบรรทุกขนส่งสินค้า ประเภทนี้จึงได้แก่ เรือคอนเทนเนอร์ หรือ General multi purpose vessels ซึ่งมักจะติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือการทำสินค้าไว้บนเรือเช่น Derricks, Union purchses, Cranes เป็นต้น
Bulk Cargo Ship
Bulk cargo(สินค้าเทกอง)
Bulk cargo is commodity cargo that is transported unpackaged in large quantities. This cargo are usually dropped or poured, with a spout or shovel bucket, as a liquid or as a mass of relatively small solids (e.g. grain, coal), into a bulk carrier ship's hold, railroad car, or tanker truck/trailer/semi-trailer body. Bulk cargo is classified as liquid or dry.
As of 2009[update] the largest bulk carrier cargo ship in the world is the 364,768 metric tons deadweight (DWT) iron ore carrier Berge Stahl.
The busiest bulk cargo port in the world is the New Orleans-area based Port of South Louisiana.
Liquid bulk cargo ("wet" trades)
Utilised Cargo
หมายถึงสินค้าตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไปที่ถูกนำมารวมกันด้วยกันผูกรัดและวางอยู่บนฐานรองชิ้นเดียวกัน วิธีการผูกรัดก็เช่น พันด้วยผ้าหรือเทปกาว, ติดกาว, ห่อหุ้ม, รัดด้วยสลิง ให้เป็นก้อนเดียวกัน ซึ่งทำห้สะดวกในการขนย้ายสินค้าเหล่านี้ได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น ทั้งยังมีผลที่ง่ายต่อการจัดเก็บสินค้าในระวางสินค้า
Dry bulk cargo ("dry" trades)
- Coal , Grain (wheat, maize, rice, barley, oats, rye, sorghum, soybeans, etc.)
- Iron (ferrous & non-ferrous ores, ferroalloys, pig iron, scrap metal, pelletized taconite), etc.)
- Bauxite,Wood chips
- Cement,Chemicals (fertilizer, plastic granules & pellets, resin powder, synthetic fiber, etc.)
- Dry edibles (for animals or humans: alfalfa pellets, citrus pellets, livestock feed, flour, peanuts, raw or refined sugar, seeds, starches, etc.)
- Bulk minerals (sand & gravel, copper, limestone, salt, etc.)
Advantage or Disadvantage on Utilised Cargoes
Advantage on Utilised Cargoes
Reefer Ship 194640
Refrigerated Cargo with Reefer Ship
A reefer ship is a type of ship typically used to transport perishable commodities which require temperature-controlled transportation, mostly fruits, meat, fish, vegetables, dairy products and other foodstuffs.
Dangerous Cargoes
โดยทั่วไปในหลายๆประเทศได้มีการกำหนดให้จดทะเบียน (Legislation) ประเภทและชนิดของสินค้าอันตราย เพื่อวัตถุประสงค์การขนส่งสินค้าประเภทนี้ด้วยปลอดภัย
การกำหนดกระทำด้วยการแบ่ง Class ซึ่งกำหนดตามขั้นตอนการปฏิบัติเกี่ยวกับสินค้าแต่ละประเภท โดยการกำหนดกฎ, ข้อบังคับ หรือกฎหมายต่างๆเข้ามากำกับ หรือจัดแบ่งตามลักษณะเฉพาะตัวของสินค้า (charisteristics) รวมทั้งขนาดและขอบเขตของอันตรายอันอาจจะเกิดขึ้นจากตัวสินค้านั้นๆ
การจดทะเบียนจะระบุรายละเอียดครอบคลุม Classification, Packaging, stowage (permissible proximity & positioning) ในระหว่างการบรรทุกและการขนส่ง
การปฏิบัติการและการบรรทุกสินค้าชนิดนี้ต้องดำเนินการตามข้อบังคับต่างๆอย่างเคร่งครัด ซึ่งโดยทั่วไปจะพิจารณาถึง
1/ ประเภทของยานพาหนะหรือเรือที่นำมาใช้ในการขนส่ง
2/ กฎข้อบังคับของประเทศต้นทาง
3/ กฎข้อบังคับของประเทศที่ขนส่งผ่านระหว่างทาง
4/ กฎข้อบังคับของประเทศปลายทาง
5/ กฎข้อบังคับของประเทศที่เรือลำนั้นแขวนธงอยู่ (flag carrying)
Merchant Shipping (Dangerous Goods) Regulations 1981
ข้อบังคับต่างๆกำหนดขึ้นตามข้อกำหนดซึ่งระบุไว้โดยเฉพาะใน SOLAS บทที่ 7 ซึ่งจะเน้นเรื่องความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยของบุคคลที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานบนเรือ
สินค้าอันตราย หมายถึง สินค้าที่ถูกระบุและจัดประเภทที่แสดงไว้ใน Blue Book*, IMDG Code และรวมทั้งในเอกสารหรือวารสารที่ออกโดย IMO เช่น “Bulk Dangerous Chemicals Code”
Documentation of packaged
สินค้าอันตรายทุกประเภทจะไม่สามารถทำการขนถ่ายได้ถ้าผู้รับ/ผู้ส่ง หรือตัวแทน ไม่ทำการแจ้งโดยเปิดเผยถึงรายละเอียดของสินค้าอันตรายนั้นๆ ซึ่งรายละเอียดที่จะต้องระบุได้แก่
1/ Technical name or Shipping name (by IMDG code)
2/ Description of goods with dangerous charisteristics
3/ Identity of goods
4/ UN number
5/ Class of goods
Classification / IMDG Code
IMO ได้กำหนดรหัส(code)สำหรับสินค้าอันตรายทุกประเภทที่จะขนส่งโดยเรือ ซึ่งอ้างอิงจากรายงานของ UN Committee of Experts on the Transport of Dangerous Goods และ
แหล่งข้อมูลการลงทะเบียนสินค้าอันตรายขององค์กรอื่นๆ เช่น ADR, RID, IATA(road, rail, air).
IMDG code ได้รับการยอมรับในการนำมาอ้างอิงโดยแพร่หลายและถูกใช้ในการกำหนดกฎข้อบังคับในกฎหมายสำหรับบางประเทศ และใช้เป็นมาตรฐานในการติดต่อการค้าระหว่างบริษัทเรือและสมาคมการค้าระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง
IMDG code ได้กำหนดจัดแบ่งประเภทของสินค้าอันตรายไว้ 9 ประเภท (สินค้าหรือสารใดๆที่ไม่ได้ระบุไว้ใน IMDG Code นี้ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเป็นสินค้าที่ไม่อันตราย เรายังต้องคำนึงถึงสภาพคุณลักษณะที่แท้จริงของสินค้านั้นด้วย)
6/23/2010
Class 4 : Flammable Solids
Class 4.1 : Flammable Solids
“ของแข็งซึ่งพร้อมจะติดไฟ” บางชนิดต้องการการจัดเก็บในสภาวะมีของเหลวหรือน้ำหล่อไว้ และหากมีการสูญเสียน้ำหล่อเย็นไปอาจจะทำให้เกิดการระเบิดได้
การจัดเก็บต้องให้ห่างจากแหล่งกำเนิดประกายไฟ
Class 4.1 : Flammable Solids
Solids easily ignited and readily combustible. These are ordinarily flammable solids which don't fit into Class 4.2 or 4.3.
Example : phosphorus, picric acid
Class 4.2 : Substances liable to spontaneous combustion
“สารซึ่งเกิดการเผาไหม้ด้วยตัวเอง” ซึ่งมักจะเกิดขึ้นเมื่ออุณหภูมิเกิดการเปลี่ยนแปลงสูงขึ้น บางครั้งเมื่อถูกน้ำหรือน้ำมันจะเกิดกระบวนการเผาไหม้ภายใน และซึ่งบางครั้งอาจจะเกิดติดไฟภายหลังเป็นวันหรือสัปดาห์
การจัดเก็บต้องระมัดระวังเรื่องของอุณหภูมิภายในบริเวณที่จัดเก็บ และห้ามถูกน้ำหรือน้ำมัน
Class 4.2 : Substances liable to spontaneous combustion
These materials will catch fire if exposed to air without any heat being applied (that is, the heat from the normal air is sufficient for them to catch fire - no other source of heat is required).
Example : charcoal (non-activated)
Class 4.3 : Subtances which in contact with water emit flammable gases
“สารซึ่งก่อให้เกิดก๊าซติดไฟเมื่อถูกน้ำ” ก๊าซที่เกิดขึ้นอาจจะติดไฟเมื่อเกิดการปลดปล่อยความร้อนของสินค้า
สินค้าประเภทนี้จะต้องถูกแยกจัดเก็บในที่แห้งเท่านั้น ไม่ให้ปะปนกับสินค้าประเภทอื่นซึ่งอาจทำปฏิกิริยากันได้ และการดับเพลิงไหม้จะต้องระมัดระวังการใช้สารดับเพลิงซึ่งเป็นของเหลวด้วย ซึ่งอาจทำให้สถานการณ์เลวร้ายลงได้
Class 4.3 : Subtances which in contact with water emit flammable gases
This class is also known as 'Emits flammable gases when wet'. This class has a particular hazard: not only can moisture from the air cause a fire, but if water or foam is used to extinguish them, it will make the situation worse.
Example : calcium carbide
src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js">